วันศุกร์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2556


ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2556
ประชากรคาดประมาณ ณ กลางปี 2556 (1 กรกฎาคม)


1.จำนวนประชากรทั้งประเทศ
64,623,000    
2. จำนวนประชากรแยกตามเพศ
     ชาย
     หญิง
31,438,000   
33,185,000   
3. จำนวนประชากรแยกตามเขตที่อยู่อาศัย
     เขตเมือง (ประชากรที่อยู่ในเขตเทศบาล และเมืองทุกประเภท)
     เขตชนบท (ประชากรที่อยู่นอกเขตเมือง)
29,662,000   
34,961,000   
4. จำนวนประชากรแยกตามภาค
     กรุงเทพมหานคร
     ภาคกลาง (ไม่รวมกรุงเทพ)
     ภาคเหนือ
     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
     ภาคใต้
7,791,000   
17,511,000   
11,588,000   
19,093,000   
8,640,000   
5. จำนวนประชากรแยกตามกลุ่มอายุ
    ประชากรวัยเด็ก (ต่ำกว่า 15 ปี)
    ประชากรวัยแรงงาน (15 - 59 ปี)
    ประชากรสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
    ประชากรสูงอายุ (65 ปีขึ้นไป)
    ประชากรก่อนวัยเรียน (0 - 5 ปี)
    ประชากรวัยเรียน (6 - 21 ปี)
    สตรีวัยเจริญพันธุ์ (15 - 49 ปี)
12,123,000   
42,983,000   
9,517,000   
6,408,000   
4,524,000    14,027,000   
17,388,000   
6. อัตราชีพ
     อัตราเกิด (ต่อประชากรพันคน)
     อัตราตาย (ต่อประชากรพันคน)
     อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ (ร้อยละ)
     อัตราตายทารก (ต่อการเกิดมีชีพพันราย)
     อัตราตายเด็ก (ต่อการเกิดมีชีพพันราย)
11.6   
7.7   
0.4   
11.2   
18.4   
7. อายุคาดฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ( จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าบุคคลที่เกิดมาแล้วจะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี)
     ชาย
     หญิง
71.1   
78.1   
8. อายุคาดฉลี่ยที่อายุ 60 ปี (จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าผู้ที่มีอายุ 60 ปี จะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี)
     ชาย
     หญิง
19.9   
23.1   
9. อายุคาดเฉลี่ยที่อายุ 65 ปี (จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าผู้ที่มีอายุ 65 ปี จะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี)
     ชาย
     หญิง
16.3   
19.1   
10. อัตราเจริญพันธุ์รวม (จำนวนบุตรโดยเฉลี่ยต่อสตรีคนหนึ่งจะมีตลอดวัยเจริญพันธุ์ของตน)
1.6    
11. อัตราคุมกำเนิด (ร้อยละ)
79.6    
12. ประมาณประชากรในอีก 20 ปี (พ.ศ. 2576)                                                                                                 65,759,000
     ชาย
     หญิง
31,633,000   
34,126,000   

คำอธิบายข้อมูล

- อัตราเกิด (ต่อประชากรพันคน) : จำนวนการเกิดทั้งหมดในปีหนึ่ง หารด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดเมื่อกลางปีนั้น คูณด้วย 1000
- อัตราตาย (ต่อประชากรพันคน) : จำนวนการตายทั้งหมดในปีหนึ่ง หารด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดเมื่อกลางปีนั้น คูณด้วย 1000
- อัตราเพิ่มธรรมชาติ (ร้อยละ) : จำนวนเกิด ลบด้วย จำนวนตาย หารด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดเมื่อกลางปี คูณด้วย 100
- อัตราตายทารก ( ต่อการเกิดมีชีพพันคน) : จำนวนทารกตายเมื่ออายุต่ำกว่า 1 ขวบในรอบหนึ่งปี หารด้วยจำนวนการเกิดมีชีพทั้งหมดในปีนั้น คูณด้วย 1000
- ตราตายเด็ก ( ต่อการเกิดมีชีพพันคน) : จำนวนเด็กตายเมื่ออายุต่ำกว่า 5 ปีในรอบหนึ่งปี หารด้วยจำนวนการเกิดมีชีพทั้งหมดในปีนั้นคูณด้วย 1000
- อัตราเจริญพันธุ์รวม : จำนวนบุตรโดยเฉลี่ยที่สตรีคนหนึ่งจะมีตลอดวัยเจริญพันธุ์ของตน คำนวณได้จากการรวมอัตราเกิดรายอายุของสตรีตลอดวัยเจริญพันธุ์
- อัตราคุมกำเนิด : ร้อยละของสตรีอายุ 15-49 ปี ที่แต่งงงานแล้วและยังอยู่กินกับสามีที่กำลังใช้วิธีคุมกำเนิดชนิดใดชนิดหนึ่งอยู่
- จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าผู้ที่อายุ 60 ปีจะมีชีวิตอยู่ต่อไปโดยยังคงทำกิจวัตรประจำวันได้เอง กล่าวคือ สามารถที่จะรับประทานอาหาร แต่งตัว อาบน้ำ เข้าห้องน้ำ และเคลื่อนไหวภายในบ้านได้โดยไม่ต้องมีผู้อื่นช่วยเหลือ

พิรามิดประชากรประเทศไทย

 
 

Source – Statistics Thailand 1960, 1980, 2000. National Statistics Organization.
Population Projection 2020. Institute for Population and Social Research, Mahidol University


ในการประชุมคณะกรรมการจัดระบบสถิติประเทศไทย  มีการรายงานข้อมูลว่า จำนวนประชากรไทยจะสูงสุดในปี 2569 ที่ 66.4 ล้านคน หลังจากนั้นจะลดลงเรื่อยๆ  สาเหตุเกิดจากประชากรกลุ่มอายุ 30-49 ปี แต่งงานน้อยลง รวมทั้งการพัฒนาด้านการแพทย์ เทคโนโลยี ทำให้อายุไขประชาชนเพิ่มขึ้น  เพศชายอยู่ที่ 75 ปี จากเดิม 70 ปี / ส่วนเพศหญิง 81 ปี จากเดิม 75 ปี




 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น